NOT KNOWN FACTS ABOUT อาหารเหนือ

Not known Facts About อาหารเหนือ

Not known Facts About อาหารเหนือ

Blog Article

การเพิ่มขีดจำกัดทางสิ่งแวดล้อม: อนาคตของอาหารภาคเหนืออาจเห็นการเพิ่มการใช้วัตถุดิบท้องถิ่นที่มีการเกษตรยั่งยืน การลดการใช้วัตถุดิบที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และการใช้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงในการผลิตอาหาร.

เป็นเมนูหาทานยาก เพราะจะต้องใช้กระดองของอ่องปูนาที่มีไข่แน่นๆ นำมาทำเท่านั้น แต่วิธีทำแสนง่าย มีส่วนผสมแค่ไข่และเกลือ นำมาผสมกันเทใส่ลงในกระดองจากนั้นนำไปย่างให้สุก คนเหนือนิยมนำข้าวเหนียวมาจิ้มกิน รสชาติเค็มๆ มันๆ อร่อยสุดๆ

ขนมตะโก้: ความอร่อยและวัฒนธรรมไทยที่เสริมสร้างรสชาติที่หลากหลาย

สำหรับเมนู “ม็อกปู” เป็นเมนูอาหารพื้นเมืองที่น่าสนใจอีกหนึ่งอย่าง เพราะวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการทำเป็นปูนา ซึ่งเป็นปูที่หากินได้ค่อนข้างยาก ทุกขั้นตอนในการทำมาพร้อมกับความพิถีพิถัน และใช้เครื่องแกงเป็นวัตถุดิบหลัก ในเครื่องแกงจะมีส่วนผสมหลากหลายอย่างไม่ว่าจะเป็นตะไคร้ กระเทียม พริกแห้ง หอมแดง ข่า มะแขว่นและเม็ดผักชี นอกจากนี้ถ้าใส่ข้าวคั่วกับไข่ลงไปในม็อกปูก็ยิ่งเพิ่มความอร่อยได้มากขึ้นกว่าเดิม ใครที่อยากกินอาหารพื้นเมืองแนะนำให้สั่งเมนูนี้เลย

นำอ่องออหมูมาล้างน้ำ โดยเปิดน้ำผ่านเบาๆ เพื่อเอาเศษกระดูกออก พยายามอย่าให้อ่องออแตก แล้วสะเด็ดน้ำพักไว้

หอมผักชีลาวมาแต่ไกล กลิ่นนี้เป็นกับข้าวอย่างเดียวเท่านั้นที่นึกถึง นั่นก็คือ แกงอ่อม ที่มีสารพัดผักอยู่ในนั้น กลิ่นที่โดดเด่นก็จะเป็น ผักชีลาว ใบมะกรูด เครื่องแกง และน้ำปลาร้า รสชาติเผ็ดๆ เค็มๆ ตามสไตล์อาหารอีสาน ไปทำตามสูตรนี้ แซ่บนัวแน่นอน

แกงขนุน หรือที่คนเหนือเรียกแกงบ่าหนุน บางจังหวัดนิยมใส่ข่า ตะไคร้ทุบ และอาจมีจักข่าน (สะค้าน) บ่าแขว่น (ผลกำจัด) โขลกใส่ลงไปในแกงด้วย เป็นเมนูที่คนเหนือนิยมทำกินกันในวันมงคลต่างๆ รสชาติจัดจ้าน หอมกลิ่นขนุน 

แกงฮังเล หรือ แกงฮินเล เป็นอาหารไทยประเภทแกงรสชาติเค็ม-เปรี้ยว แกงฮังเลมีต้นกำเนิดจากประเทศพม่า โดยคำว่า ฮี่น (ဟင်း) ในภาษาพม่าแปลว่า แกง และ เล่ (လေး) ในภาษาพม่าแปลว่า เนื้อสัตว์ แกงฮังเลได้รับความนิยมจากชาวไทยภาคเหนือและแคว้นสิบสองปันนา ประเทศจีน วิธีปรุงแกงฮังเลมีสองแบบคือแบบพม่าและแบบเชียงแสน โดยแบบพม่าได้รับความนิยมมากกว่า แกงฮังเลพม่ารสชาติออกเปรี้ยวเค็ม น้ำขลุกขลิก ใส่ขิง น้ำมะขามเปียก กระเทียมดอง ถั่วลิสง น้ำตาลอ้อย ส่วนแกงฮังเลเชียงแสนเพิ่มถั่วฝักยาว พริก หน่อไม้ดอง งาคั่ว ส่วนประกอบสำคัญจะต้องมีผงแกงฮังเลหรือผงมัสล่าซึ่งเป็นผงเครื่องเทศแบบผสมแบบเดียวกับการัม มาซาลาของอินเดีย น้ำพริกแกงประกอบด้วยพริกแห้ง เกลือ ข่าแก่ ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง แกงฮังเลแบบไทใหญ่ น้ำขลุกขลิกและกินกับมะม่วงสะนาบซึ่งเป็นมะม่วงสับ ยำกับกะปิคั่ว กุ้งแห้งป่น และกระเทียมเจียว

น้ำเงี้ยวได้รสเปรี้ยวหวานจากมะเขือเทศ ผัดรวมกับเลือดหมู เนื้อหมู ถั่วเน่าและพริก กลายเป็นน้ำแกงสีแดงนำไปราดเส้นขนมจีน เพิ่มรสชาติด้วยการโรยกระเทียมเจียว ผักกาดดอง this site มะนาว และแคบหมู แค่ฟังก็น้ำลายสอ

ย่างไปจนไข่ด้านบนเริ่มสุกนิดๆ จากนั้นก็ยกลงจากเตา เสิร์ฟพร้อมข้าวสวยร้อนๆ ค่ะ

เสิร์ฟพร้อมกับน้ำซุปและเครื่องปรุงตามชอบ.

ไส้กรอกรสเผ็ดจากภาคเหนือของไทย คำว่า “อั่ว” ในภาษาเหนือแปลว่ากรอกหรือยัดไส้ ไส้อั่วจึงเป็นการนำหมูบดมาผสมกับกระเทียม สมุนไพร พริก และเครื่องแกง ก่อนนำไปกรอกใส่ไส้นั่นเอง กินเป็นกับแกล้ม หรือจะกินคู่กับข้าวเหนียวเป็นจานหลักก็ได้

ถ้าถามถึงอาหารเหนือที่น่ากินขอแนะนำ “คั่วโฮะ” ซึ่งคำว่า โฮะ หมายถึงการรวมเอาอาหารหลาย ๆ อย่างมาไว้รวมกัน หรือเรียกว่าแกงที่รวมอาหารเหลือมาเติมบางอย่างเข้าไป แต่ว่าในปัจจุบันไม่ได้ใช้อาหารที่เหลือแล้ว แต่ใช้เป็นอาหารที่ปรุงสดใหม่ในการทำ วัตถุดิบที่เติมเข้าไปจะมีหน่อไม้ ใบมะกรูด ตะไคร้ และวุ้นเส้น รวมถึงใช้แกงฮังเลในการปรุงรสชาติ ดังนั้นรสชาติของเมนูนี้จะคล้ายแกงฮังเลแบบแห้งที่มีการใส่วัตถุดิบอื่น ๆ เพิ่มเติมเข้าไปอีก อยากจะลองกินเมนูที่รวมอาหารหลาย ๆ รูปแบบเอาไว้แนะนำให้ลองสั่งคั่วโฮะมาลองชิม แม้ชื่อและวิธีการทำอาจจะดูแปลก แต่รสชาติอร่อยกลมกล่อมเป็นอย่างมาก

เรียกสั้นๆ ว่าแกงหน่อ มักใช้หน่อไม้สดในการปรุง โดยหน่อไม้ที่นิยมนำมาแกง ได้แก่ หน่อไม้ไผ่ตง หน่อไม้บง หน่อไม้ไล่ หน่อไม้ไผ่สีสุก นิยมใส่กระดูกหมู ปลาดุก ปลาช่อน ปลาย่าง แคปหมู หรือบางทีก็ใส่น้ำปูลงไปด้วยเพื่อเพิ่มรสชาติของน้ำแกง มีวัตถุดิบในการทำพริกแกง เช่น พริกหนุ่ม หอมแดง กระเทียม กะปิ ปลาร้า ที่ขาดไม่ได้คือผักชะอมและผักแค บอกเลยว่าหน่อทุบหนึบหนับ จับใจคนชอบซดแน่นอน

Report this page